วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555


ที่มาและความสำคัญ

      คลื่นเป็นเนื้อหาที่สำคัญในวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งทางผู้ร่วมพัฒนามีความสนใจในปรากฏการณ์เรื่องคลื่น โดยเน้นความสนใจที่เรื่อง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ ซึ่งในบทความที่เขียนขึ้นจะมีเนื้อหาเรื่องปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ สูตรการคำนวณอย่างง่าย และสื่อวีดีโออธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว ซึ่งทำให้ผู้ที่สนใจสามารถนำไปใช้ประกอบการเรียนในชั้นเรียนได้






ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ “Doppler  Effect”



เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรับคลื่นของผู้ฟังหรือผู้สังเกต  อันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันของแหล่งกำเนิดคลื่นหรือการเคลื่อนที่ของผู้ฟัง ความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างผู้ฟังกับแหล่งกำเนิดไม่เท่ากับศูนย์

ความเร็วสัมพัทธ์ คือ ความเร็วเปรียบเทียบระหว่างความเร็ว 2 ความเร็ว ความเร็วหนึ่งเป็นความเร็วของสิ่งที่ต้องการสังเกต และอีกความเร็วหนึ่งเป็นความเร็วของผู้สังเกต

ตัวอย่างการหาความเร็วสัมพัทธ์ เมื่อผู้สังเกตมีความเร็ว  และสิ่งที่ถูกสังเกตมีความเร็ว  เคลื่อนที่อยู่ในแนวเส้นตรง การหาความเร็วสัมพัทธ์ให้กลับทิศความเร็วของผู้สังเกต แล้วนำไปบวกกับความเร็วของสิ่งที่ถูกสังเกต

1.  และ  เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน ความเร็วสัมพัทธ์ที่ได้ คือ 

                         
2.  และ  เคลื่อนที่สวนทางกัน ความเร็วสัมพัทธ์ที่ได้ คือ
                                       
                     

 

สูตรที่ใช้ในการคำนวณเรื่องดอปเพลอร์  


 


เมื่อ        ความเร็วเสียงในอากาศสัมพัทธ์กับผู้สังเกต
                  ความถี่ปรากฏแก่ผู้สังเกต
                  ความยาวคลื่นเสียงเมื่อ Source เคลื่อนที่

หลักการพิจารณา 


     จะพิจารณาและ จากการเปรียบเทียบความเร็วสัมพัทธ์ตามที่กล่าวไปข้างต้น (ถ้าเคลื่อนที่ไปทางเดียวกันให้ลบกัน สวนทางกันให้บวกกัน)


   ตัวอย่างการคำนวน   เมื่อผู้สังเกตและ source เคลี่อนที่เข้าหากันจะได้ 




เมื่อกำหนดให้       แทนความเร็วของเสียงในอากาศ
                แทนความเร็วของ source
                แทนความเร็วของผู้สังเกต
                     แทนความถี่เสียงในอากาศ

 

โปรแกรมคำนวน


                     ความเร็วเสียงในอากาศ      
                  ความถี่เสียงในอากาศ            
              ความเร็วของผู้สังเกต                      
         ความเร็วของแหล่งกำเนิด                             
                                              
                                   


ความถี่เสียงที่ผู้สังเกต      OUTPUT HERE



ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์

ขั้นที่ 1 - วันที่ 4 กันยายน 2555 : ทำ Blog โดยการกำหนดหัวข้อ และหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ขั้นที่ 2 - วันที่ 6 กันยายน 2555 : จัดทำ PowerPoint ประกอบการนำเสนอโครงงาน

ขั้นที่ 3 - วันที่ 9 กันยายน 2555  : จัดทำโปรแกรมคำนวนเสียง By Komodo Edit 7

ขั้นที่ 4 - วันที่ 11 กันยายน 2555 : จัดทำฉบับร่างของบทความ และ ทำการบันทึกวีดีโอประกอบการนำเสนอ

ขั้นที่ 5 - วันที่ 12 กันยายน 2555 : ส่งโครงงานคอมพิวเตอร์

Final - วันที่ 12 กันยายน 2555 : พบกับ http://dopplerpccnst.blogspot.com เต็มรูปแบบ

การใช้งานโปรแกรม




ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน

1.ได้รับความรู้และความเข้าใจในวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์


2.มีความรู้และความสามารถในการสร้าง Blogger เพื่อประกอบการทำโครงงาน

3.สามารถเขียน Code HTML เพื่อสร้างโปรแกรมคำนวนเรื่องปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ได้

4.สามารถนำเอาโปรแกรม Camtasia Studio ไปประกอบการนำเสนอข้อมูลของโครงงานได้

วีดีโอนำเสนอ


เอกสารประกอบการนำเสนอ  : http://www.mediafire.com/?rw2gfmv4i5c3pwv

Thx. Camtasia Studio 7 & Sony vegas 10.0.0

วันพุธที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555


ผู้จัดทำ Blogger DOPPLER



1) นายจริย์วัฒน์  หิรัญวิริยะ  ม.601  เลขที่ 5



2) นายสรวิชญ์  พลรักษ์เขต   ม.601  เลขที่ 17





อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์ : อ.สมศักดิ์ กัญจนกาญจน์



อาจารย์ที่ปรึกษาคอมพิวเตอร์ : อ.จิรัฎฐ์  พงษ์ทองเมือง



โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
PRINCESS CHULABHORN'S COLLEGE NAKHON SI THAMMARAT

Credit แหล่งข้อมูลประกอบการทำโครงงาน


ทวี  สุนทรวัฒน์ และสามารถ  พงศ์ไพบูลย์. "หัวใจฟิสิกส์ ม.4-5-6". ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, บจก., 2554.

อัมพร  บุญญาสถิตสถาพร. ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์. [online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.mwit.ac.th (วันที่สืบค้นข้อมูล : 6 กันยายน 2555 ).

Phy D,SA. [online]. เข้าถึงได้จาก http://www.sa.ac.th/winyoo/Sound/sound_dopler.htm
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 6 กันยายน 2555 ).